Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1322
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภูวชนาธิพงศ์, กมลาศ-
dc.contributor.authorประภัสสรพิทยา, มนัสนันท์-
dc.contributor.authorณ นคร, ทิพย์ธิดา-
dc.contributor.authorแก้วบุตรดี, พระมหานันทวิทย์-
dc.contributor.authorวัยวัฒนะ, เอื้ออารีย์-
dc.date.accessioned2025-07-19T05:44:21Z-
dc.date.available2025-07-19T05:44:21Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1322-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษารูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนา ท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชน ๒) พัฒนากระบวนการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นใน บ้านเกิดของเยาวชน ๓) ประเมินผลการใช้รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นใน บ้านเกิดของเยาวชน เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู หน่วยงาน ภาครัฐในพื้นที่ ตัวแทนภาคประชาชน ปราชญ์ชุมชน จำนวน ๙ คน และกลุ่มเสวนาออนไลน์ ได้แก่ ผู้อำนวยการ ผู้บริหาร และครู จำนวน ๓๐ คน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนในพื้นที่ จำนวน ๖๐ คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน การสัมภาษณ์เชิงลึก กิจกรรมเสวนา การสังเกตแบบมี ส่วนร่วม และกิจกรรมจับกล้องส่องบ้านเกิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ๑) รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธฯ ประกอบด้วย ๑) เครือข่ายขับเคลื่อนสานความ ร่วมมือ ๒) กระบวนการสร้างความร่วมมือ ๓) การเสริมสู่การยกระดับ ๒) การออกแบบกระบวนกิจกรรม มี ๔ ขั้นตอน คือ ๑) สร้างความร่วมมือเครือข่าย โรงเรียนในพื้นที่ ๒) อบรมปลูกจิตสำนึกรักษ์บ้านเกิด ๓) การทำโครงการจับกล้องส่องบ้านเกิด สื่อ วัฒนธรรมรักบ้านเกิด ๔) นำเสนอผลผลิตคลิปวีดิโอสื่อสร้างสรรค์ภายใต้แนวความคิด“แลดูเบิ่งผ่อ” คือ “๕ ดู” ได้แก่ วิถีชีวิต ค่านิยม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ๓) ผลประเมินรูปแบบ พบว่า ในภาพรวมเยาวชนมีจิตสำนึกรักษ์เกิดตามหลักสัปปุริส ธรรมและโยนิโสมมนสิการสูงขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ และ นักเรียนสะท้อนความรู้สึกว่า สนใจในประวัติศาสตร์ไทยมากขึ้นและมีความภูมิใจในบ้านเกิด ส่วน ผลลัพธ์ของการใช้รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์ฯประกอบด้วย ๑) การพัฒนากระบวนการใช้สื่อ สร้างสรรค์ฯ ๒) กิจกรรมใช้สื่อสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมเพื่อปลูกจิตสำนึกรักษ์ถิ่นบ้านเกิดของเยาวชน ๓) ผลผลิตสื่อสร้างสรรค์ ๑๐ ชิ้นงาน ๔). สิ่งที่เยาวชนได้รับ เช่น มีจิตสำนึกษ์รักษเกิดสูงขึ้นกว่าก่อน เข้าร่วมโครงการ เกิดความรักและภูมิใจในท้องถิ่นและจังหวัดของตน ฯลฯen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectรูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชนen_US
dc.subjectผลิตสื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธen_US
dc.subjectโครงการจับกล้องส่องบ้านเกิด สื่อสร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรมรักบ้านเกิดen_US
dc.subjectเครือข่ายการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในบ้านเกิดของ เยาวชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.title“ดู” รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.title.alternative“Do” Model of Buddhist Creative Media Literacy for Local Hometown Development of the Youth in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.034.2565.ย่อย2.pdf8.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.