Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปัญญาผ่องใส, ดำเนิน-
dc.contributor.authorบุญเลิศ, นเรศร์-
dc.contributor.authorสิทธิวงศ์, อารุณ-
dc.date.accessioned2025-07-19T04:24:00Z-
dc.date.available2025-07-19T04:24:00Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1307-
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการ พนักงาน ผู้บริหารส่วนท้องถิ่นและประชาชน การสัมภาษณ์ลงพื้นที่สังเกตการณ์จากสภาพจริงและเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของวิสาหกิจชุมชนการเกษตรกาแฟดอยช้าง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกาแฟดอยช้าง เพื่อพัฒนาการสื่อสารตลาดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกาแฟดอยช้าง เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายการท่องเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตร กาแฟดอยช้าง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ผลการวิจัยพบว่า ๑. การพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนกาแฟดอยช้าง นำไปใช้ประโยชน์เชิงสร้างสรรค์การจัดการเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจกิจชุมชน มีการพึ่งตนเองและรวมกลุ่มของผู้ประกอบการ อาศัยความร่วมมือหรือสื่อจากองค์การบริหารส่วนตำบลวาวี ได้สนับสนุนและทำเป็นนโยบาย เพื่อให้เกิดการจัดการเครือข่ายอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และการใช้ประโยชน์ในเชิงสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายโดยอาศัยพลังของกลุ่มในการรักษาผลประโยชน์ที่ควรได้รับ การยกระดับการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การใช้ประโยชน์ในเชิงนโยบาย การจัดทำรูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในท้องที่อื่น ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยมีตัวอย่างหรือโมเดลการดำเนินงานที่อาศัยความร่วมแรงร่วมใจของกลุ่มสมาชิกที่มีเป้าหมายในการดำเนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ๒.ได้ทราบถึงศักยภาพการบริหารจัดการท่องเที่ยวที่สำคัญของอำเภอแม่สรวยอย่างยั่งยืน โดยการเน้นในการบริหารจัดการท่องเที่ยวด้านบริการ การผลิต ด้านการตลาด ด้านการบริหารการเงิน และการบริหารจัดการองค์กร การเรียนรู้และขีดความสามารถ ศักยภาพของชุมชนจะได้รับประโยชน์ในการท่องเที่ยว สร้างรายได้ให้กับชุมชนพื้นที่ ทำให้มีการพัฒนาด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีความหลากหลายทางชีวภาพ การบริหารการท่องเที่ยวที่พึ่ง แนวคิดสร้างสรรค์ชุมชน บทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งภาครัฐและเอกชน ๓. องค์ความรู้ที่เป็นผลการจัดการความรู้ในระดับชุมชนด้านการสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเกษตรกาแฟดอยช้าง ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ผ่านการเสริมสร้างเครือข่าย โดยความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการด้วยกัน เป็นภาคีเครือข่ายในการผลิตและจัดการความรู้เรื่องการผลิต การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมที่มีในท้องถิ่น การนำเสนอรูปแบบเครือข่ายของกลุ่มวิสาหกิจ ได้แหล่งความรู้ใหม่ที่สำคัญแล้วนำไปสู่กระบวนการสร้างชุมชนให้มีรายได้ แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์แยกพิจารณาถึงจุดแข็งจุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค รวมทั้งการวิเคราะห์การพัฒนาด้านรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพัฒนากลยุทธ์en_US
dc.subjectการพัฒนากลยุทธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.subjectกลุ่มวิสาหกิจชุมชนen_US
dc.subjectการพัฒนาการสื่อสารตลาดการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectเกษตรเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.subjectการเสริมสร้างภาคีเครือข่ายen_US
dc.subjectกาแฟดอยช้างen_US
dc.titleการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนการเกษตรกาแฟดอยช้าง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeDevelopment of cultural tourism of the community enterprises for farming Doi Chang coffee in Mae Suai district, Chiang Rai.en_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.030.2565.pdf4.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.