Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1305
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิรภัคพงค์, ชลธิชา-
dc.contributor.authorพระครูปริยัติวรากร-
dc.contributor.authorแสงธง, พระศักดิธัช-
dc.contributor.authorขอนวงค์, สมจิต-
dc.date.accessioned2025-07-19T04:14:08Z-
dc.date.available2025-07-19T04:14:08Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttp://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1305-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมการสร้างเครือข่าย กลไกการตลาด สร้างเครือข่าย กลไกการตลาด และขับเคลื่อนเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพ ในจังหวัดแพร่ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ไม้สัก ผลิตภัณฑ์จักสาน ผลิตภัณฑ์ผ้าหม้อห้อม ผู้นาชุมชนผลิตภัณฑ์ไม้สัก ผลิตภัณฑ์ไม้สัก ผลิตภัณฑ์จักสาน ผลิตภัณฑ์ผ้าหม้อห้อม องค์กรภาครัฐ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบลน้าชา สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสูงเม่น สานักงานเกษตรจังหวัดแพร่ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดแพร่ เครื่องมือที่ใช้การวิจัยเป็นแบบการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม กิจกรรมการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) และการจัดประชุมสัมมนาทางวิชา การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาพิจารณาประเด็นหลักและแบ่งออกเป็นประเด็นย่อย ผลการวิจัยพบว่า ๑. กระบวนการมีส่วนร่วมการสร้างเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพ ในจังหวัดแพร่ พบว่า มีส่วนร่วมทั้งกลุ่มภายในชุมชน และภายนอกชุมชน ประกอบด้วย เครือข่ายการผลิต เครือข่ายการเรียนรู้ เครือข่ายการตลาด เครือข่ายองค์กรภาครัฐ โดยที่กลุ่มชุมชนสัมมาชีพควรมีส่วนร่วมในการวางแผนการผลิต แผนการออกแบบผลิตภัณฑ์และช่องทางการจาหน่าย ดาเนินการด้านการตลาด องค์กรภาครัฐมีบทบาทสาคัญ ได้แก่ การเป็นผู้สนับสนุน การเป็นผู้ส่งเสริม และการผู้ประสานงาน ๒. การสร้างเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพ ในจังหวัดแพร่ พบว่า การสร้างเครือข่าย เป็นการทางานร่วมกันของกลุ่มคนหรือองค์กรที่มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม และมีเป้าหมายหรือมีวัตถุประสงค์ร่วมกันเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร การตกลงที่จะทางานร่วมกันทากิจกรรมร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ๓. การขับเคลื่อนเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพ ในจังหวัดแพร่ พบว่า จากการทากิจกรรมบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน ภาคีเครือข่ายทั้ง ๕ เครือข่าย จึงได้ดาเนินการจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพของชุมชนสัมมาชีพด้านการออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนากิจกรรมเพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ การพัฒนาด้านการตลาดและช่องทางการ จาหน่าย ให้มีกระบวนการสร้างสรรค์ที่เหมาะสม โดยเน้นความรู้ กระบวนการ และผลลัพธ์ของการดาเนินการอันจะนาไปสู่การเสริมสร้างชุมขนสัมมาชีพให้มีความเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ๔. องค์ความรู้การสร้างเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพในจังหวัดแพร่ พบว่า กลุ่มสัมมาชีพมีบทบาทหน้าที่ในการผลิตและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้า ด้วยการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ให้มีความหลากหลาย การพัฒนาการเรียนรู้และการพัฒนากิจกรรมกลุ่ม การพัฒนาการตลาดขยายช่องทางการตลาด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีบทบาทหน้าที่เป็นผู้สนับสนุน ให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ให้คาปรึกษาแนะนาในการส่งเสริมศักยภาพของผู้นาชุมชน องค์กรชุมชน เป็นผู้ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในอาชีพ เป็นผู้ประสานงานรวมกับหน่วยงานอื่นen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสร้างเครือข่ายและกลไกการตลาดen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์en_US
dc.subjectชุมชนสัมมาชีพen_US
dc.subjectการขับเคลื่อนเครือข่าย กลไกการตลาดen_US
dc.titleการสร้างเครือข่าย กลไกการตลาดผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ของชุมชนสัมมาชีพ ในจังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeThe Development of Networking Market Mechanism of Right Occupation Community Creative Products of Phrae Provinceen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.028.2565.ย่อย4.pdf5.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.