Please use this identifier to cite or link to this item: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1288
Title: รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการ ในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด
Other Titles: Model of Buddhist Integrated Learning Management at Public Space in Roi Et Province
Authors: พระครูสุตวรธรรมกิจ
อตฺถสิทฺโธ, พระครูปลัดสมหมาย
Keywords: รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการ
พื้นที่สาธารณะ
Issue Date: 2565
Publisher: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัด ร้อยเอ็ด” วัตถุประสงค์ ของ การวิจัย คือ ๑ ๑) ศึกษารูปแบบ การจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่ สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด ๒๒) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธ บูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด ๓) ประเมินความพึงพอใจของรูปแบบการจัดการ เรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้ อยเอ็ด การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบ ผสมผสาน (Mix Methodology Research) ทั้งการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เชิง ปริมาณ (Quantitative Research) เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดย ตัวแทนพระสงฆ์ และประชานชนในพื้นที่ วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำบลนิเวศน์ อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด รวมประชากรกลุ่มตัวอย่าง และผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น จำนวน ๔๔ ๐ รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า ๑ ) ศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อ การรับรู้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการ ในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๔ รู ปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการศึกษาเช่น ด้วย ซึ่งรูปแบบ การจัด การศึกษาตามแนวพุทธศาสนา มี คุณธรรม การรู้เท่าทันอารมณ์ การรู้จักปล่อยวางอารมณ์ที่เศร้า หมอง การฝึกให้มีสติ การบริหารจัดการอารมณ์ต่าง ๆ การพยายามละสิ่งที่ไม่ดี รักษาสิ่งที่ดีงามที่ เกิดขึ้นแล้วให้งอกงามยิ่งขึ้น สามารถป้ องกันสิ่งที่ไม่ดีไม่งามที่ยังไม่เกิดขึ้น ไม่ให้ เกิดขึ้น และสามารถ สร้างสิ่งที่ดีงามที่ยังไม่มี ให้เกิดขึ้นได้ เป็นการฝึกฝนพัฒนาจิตใจ พัฒนา ความคิดให้มีศักยภาพและ สมรรถภาพในการด รงชีวิต เพื่อบูรณาการองค์ความรู้และชีวิตไปใช้ให้มีความสุข โดยมีกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่สาธารณะจังหวัดร้อยเอ็ดให้ประชาชนมีส่วนร่วม ได้แก่ ในพื้นที่สาธารณะจังหวัดร้อยเอ็ดให้ประชาชนมีส่วนร่วม ได้แก่ กิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้าน กิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้าน โดยการแสดงโดยการแสดงศิลปะฟ้อนรำพื้นบ้าน กิจกรรมต่อบุญต่อธรรม โดยนำอาหารจากการบิณฑบาตไปมอบศิลปะฟ้อนรำพื้นบ้าน กิจกรรมต่อบุญต่อธรรม โดยนำอาหารจากการบิณฑบาตไปมอบให้แก่องค์กรการกุศล เช่น บ้านพักคนชรา บ้านเด็กกำพร้า คนยากจนในบริเวณพื้นที่ในจังหวัด ให้แก่องค์กรการกุศล เช่น บ้านพักคนชรา บ้านเด็กกำพร้า คนยากจนในบริเวณพื้นที่ในจังหวัด กิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ เข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมอุ้มบุญอุ้มธรรม โดยทำบุญตักบาตรในตอนเช้ากิจกรรมไหว้พระสวดมนต์ เข้าค่ายคุณธรรม กิจกรรมอุ้มบุญอุ้มธรรม โดยทำบุญตักบาตรในตอนเช้าหลักจากออกกำลังกาหลักจากออกกำลังกาย กิจกรรมลานธรรมล้านกีฬา โดยออกกำลังกายในตอนเช้า กิจกรรมทางสังคม ย กิจกรรมลานธรรมล้านกีฬา โดยออกกำลังกายในตอนเช้า กิจกรรมทางสังคม เช่น ตรวจเยี่ยมแต่ละครอบครัว เป็นต้น กิจกรรมฟังธรรมนั่งสวรรค์ โดยการฟังเทศนาจากพระเช่น ตรวจเยี่ยมแต่ละครอบครัว เป็นต้น กิจกรรมฟังธรรมนั่งสวรรค์ โดยการฟังเทศนาจากพระอาจารย์วิปัสสนาอาจารย์วิปัสสนา ๒) ๒) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัสาธารณะในจังหวัดร้ดร้อยเอ็ด พบว่า อยเอ็ด พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อการมีส่วนร่วมพัฒนาความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามต่อการมีส่วนร่วมพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมอยู่ในอยู่ในระดับมาก ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๘ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๘ ผลการทดสอบหลังเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมโดยใช้คู่มือผลการทดสอบหลังเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมโดยใช้คู่มือรูปแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะบูรณาการในพื้นที่สาธารณะ ในครั้งที่ ๑ (ประเมินหลังการฝึกอบรม) (ในครั้งที่ ๑ (ประเมินหลังการฝึกอบรม) (xx̅ = ๑๖.๒๐ ๑๖.๒๐ S.D. = ๐.๗๐ ) ๐.๗๐ ) และครั้งที่ ๒ (ประเมินห่างจากครั้งแรก ๑ สัปดาห์) (และครั้งที่ ๒ (ประเมินห่างจากครั้งแรก ๑ สัปดาห์) (xx̅ = ๑๘.๔๐ ๑๘.๔๐ S.D. = ๐.๖๐) สูงกว่าก่อนการเข้๐.๖๐) สูงกว่าก่อนการเข้าาร่วมกิจกรรมการอบรม (ร่วมกิจกรรมการอบรม (xx̅ = ๑.๘๐ ๑.๘๐ S.D. = ๐.๙๕ ) ดังนั้น กลุ่มตัวอย่างมีผลการทดสอบก่อน๐.๙๕ ) ดังนั้น กลุ่มตัวอย่างมีผลการทดสอบก่อนกาการใช้รใช้คู่มือคู่มือรูปแบบรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะและหลังการใช้คู่มือและหลังการใช้คู่มือรูปแบบรูปแบบการการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะ แตกต่างกันแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดัอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ ๐.๐๕บ ๐.๐๕ ๓) ๓) ประเมินความพึงพอใจของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะประเมินความพึงพอใจของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ดในจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธพบว่า ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมบูรณาการในพื้นที่สาธารณะในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๐ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๐
URI: http://mcuir.mcu.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/1288
Appears in Collections:รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ว.025.2565.ย่อย1.pdf12.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.